วันจันทร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555

มะเร็งต่อมลูกหมาก


มะเร็งคืออะไร ?


ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งต่อมลูกหมากควรตรวจอะไรบ้าง 


สำหรับผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวควรจะปรึกษาแพทย์ว่าเมื่อไรจึงจะตรวจหามะเร็งต่อมลูกหมากแม้ว่าจะไม่มีอาการ  จะตรวจอะไรบ้าง และตรวจถี่แค่ไหน แพทย์จะแนะนำให้ตรวจดังที่จะแสดงข้างล่างแต่การตรวจดังกล่าวเป็นการตรวจว่ามีความผิดปกติที่ต่อมลูกหมากหรือไม่มิใช่บ่งว่าเป็นมะเร็ง
  • การตรวจต่อมลูกหมากทางทวารหนักโดยการที่แพทย์ใส่ถุงมือ ใช้ vaslin หล่อลื่นนิ้วมือ แล้วตรวจต่อมลูกหมากทางทวารหนักเพื่อดูว่ามีก้อน หรือขนาดโตขึ้น
  • การตรวจหาสาร PSA ซึ่งเป็นสารโปรตีนที่ผลิตโดยต่อมลูกหมาก ค่าจะสูงในโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก  ค่าปกติจะน้อยกว่า 4 nanogram ค่าอยู่ระหว่าง 4-10 nanogram ค่านี้อยู่ระดับปานกลางถ้าค่ามากกว่า 10 ถือว่าสูงค่ายิ่งสูงโอกาสเป็นมะเร็งก็จะสูง นอกจากนี้ยังพบว่าค่า PSA สูงพบได้ในโรค ต่อมลูกหมากโต การอักเสบของต่อมลูกหมาก ค่ามักจะอยู่ระหว่าง 4-10 nanogram 
หากการตรวจดังกล่าวพบว่าผิดปกติก็จะต้องตรวจเพิ่มเพื่อยืนยันว่าเป็นมะเร็งต่อมลูกหมากหรือไม่

ระยะของโรค มะเร็งต่อมลูกหมาก

การวางแผนการรักษาจะต้องรู้ว่ามะเร็งต่อมลูกหมากแพร่กระจายหรือยังหรือยังอยู่เฉพาะที่ต่อมลูกหมากโดยจะต้องมีการตรวจเพิ่มเช่นการตัดชิ้นเนื้อจากทวารหนัก การ x-ray พิเศษ ที่นิยมแบ่งเป็น 4 ระยะได้แก่ 1-4 หรือ A-D
  1. Stage 1 หรือ A ระยะนี้ผู้ป่วยไม่มีอาการไม่สามารถตรวจพบมะเร็งต่อมลูกหมากทางทวารทราบว่าเป็นโดยการผ่าตัดต่อมลูกหมากโตระยะนี้มะเร็งอยู่เฉพาะในต่อมลูกหมาก
  2. Stage 2หรือ B สามารถตรวจได้จาการตรวจต่อมลูกหมากโดยการใช้เข็มเจาะชิ้นเนื้อต่อมลูกหมากเนื่องจากค่า PSA สูงมะเร็งยังอยู่ในต่อมลูกหมากไม่แพร่กระจาย
  3. Stage 3หรือC มะเร็งแพร่กระจายไปเนื้อเยื่ออยู่ใกล้ต่อมลูกหมาก
  4. Stage 4 หรือDมะเร็งแพร่กระจายไปต่อมน้ำเหลืองหรืออวัยวะอื่น
  5. Reccurent หมายถึงภาวะที่มะเร็งกลับเป็นใหม่หลังจากรักษาไปแล้ว

การป้องกัน มะเร็ง

           นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าการป้องกันมะเร็งสามารถทำได้โดยการรับประทานอาหารผักและผลไม้ การออกกำลังกาย การควบคุมน้ำหนัก การเลือกอาหารไขมันต่ำ และ BIMผักและผลไม้
จากศึกษาส่วนใหญ่พบว่าผักและผลไม้มีสารต้านอนุมูลอิสระ ใยอาหาร และมีไขมันต่ำซึ่งจะลดการเกิดโรคมะเร็งและป้องกันโรคอ้วน ผู้เชี่ยวชาญแนะนำว่าในแต่ละวันควรจะรับผักและผลไม้อย่างน้อยวันละ 5 หน่วย โดยเฉพาะผักและผลไม้ที่มีสีเข็มเช่นเขียว (คะน้า ผักบุ้ง กวางตุ้ง) ส้ม แดง
ธัญพืช
ได้แก่ข้าวกล้อง ข้าวโอ๊ต ข้าวสาลี การรับประทานอาหารเหล่านี้จะทำให้ระบบขับถ่านทำงานดีขึ้นและยังลดการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่
ถั่วต่างๆ
ถั่วต่างๆจะให้สารอาหารโปรตีนสำหรับทดแทนเนื้อสัตว์และใยอาหาร นอกจากนั้นยังมีสารต้านอนุมูลอิสระซึ่งต่อต้านมะเร็ง
การออกกำลังกาย การดื่มสุรา และการสูบบุหรี่ 
ปัจจัยดังกล่าวข้างต้นจะสามารถลดอุบัติการณ์ของมะเร็ง
Lycopene
เป็นสารต้านอนุมูลอิสระป้องกันมะเร็งพบได้มากในมะเขือเทศ มีการศึกษาว่าการรับประทานมะเขือเทศเป็นประจำสามารถลดขนาดของเนื้องอก แต่ต้องศึกษาเพิ่มเติม
Silenium
เป็นสารต้านอนุมูลอิสระพบได้มากในพวก ปลา อาหารทะเล ไก่ ธัญพืช ถั่วต่างๆ มีการวิจัยว่าสารนี้ลดอัตราการตายจากมะเร็งต่อมลูกหมาก
ถั่วเหลือง
การวิจัยพบว่าการรับประทานอาหารที่ทำจากถั่วเหลืองจะลดอัตราการเกิดมะเร็งต่อมลูกหมาก
vitamin E
จาการวิจัยพบว่าการรับประทานวิตามิน อีเป็นประจำชะลออัตราการเกิดมะเร็งต่อมลูกหมากและลดอัตราการตายจากโรคนี้

แถลงข่าวผลงานนัักวิทยาศาสตร์ไทยก้าวไกลสู่ระดับโลกต้านมะเร็งด้วยผลไม้ไทยมังคุดศ.ด­­ร.พิเชษฐ์ วิริยะจิตรา ศ.ดร.วัชระ กสิณฤกษ์ ผอ.ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีชีวการแพทย์ ม.เชียงใหม่ ด้วยBIM100 ที่มีประสิธิภาพในการเพิ่ม Th17 สูงขึ้น5เท่าช่วยในการฆ่าเซลมะเร็ง ดูข้อมูลได้ในVDO ข้างต้น
                ภูมิคุ้มกันที่สมดุล
องค์กรภาครัฐและ บริษัท มหาชนได้จับมือร่วมกับนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ระดับโลกชั้นบางส่วนจากมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศไทยที่เปิดดำเนินการ "BIM"โดยมีวัตถุประสงค์ของการสร้างความมั่นใจสุขภาพที่ดีสำหรับผู้คนทั่วโลก นอกจากนี้โครงการจะก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนในอุตสาหกรรมการใช้ที่มีคุณค่าของผลไม้ไทยและธัญพืชเป็นวัตถุดิบจึงเอื้อต่อการเศรษฐกิจท้องถิ่นด้วยการช่วยให้การรักษาและเพิ่มราคาของผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ
การดำเนินการ "BIM" (Balancing Immune) จะให้ยืนยาวไปประชากรโลกซึ่งจะช่วยให้พวกเขาไปอยู่อย่างมีความสุขในสุขภาพที่ดี ร่างกายของคนจะได้รับการติดตั้งที่มีความสามารถป้องกันการต่อต้านสารพิษอันตรายต่อสุขภาพ, เชื้อราแบคทีเรียไวรัสและเซลล์มะเร็ง นอกจากนี้ยังสามารถลดทุกชนิดของความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการอัตโนมัติภูมิคุ้มกันโรคที่เกี่ยวข้องกับที่มีผลในการแก้ปัญหาทางผิวหนังสะเก็ดเงินเช่นเดียวกับโรคทั่วไปอื่น ๆ รวมทั้ง gastroenteropathy, arthrosis โรคเบาหวาน, ภูมิแพ้, โรคหัวใจ, ตับและไตอักเสบหอบหืด, โรคลมชัก . 
ความสามารถในการข้างต้นของผลร่างกายจากความสมดุลของ Th1, Th2, Th17 และเซลล์ Treg
ประกอบของประสบการณ์ภูมิปัญญาความรู้ความเชี่ยวชาญและการวิจัยของนักวิทยาศาสตร์การแพทย์จากสาขาต่างๆมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้บรรลุเป้าหมายนี้ด้วยการสนับสนุนจากสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) และ Phytoceuticals